ข้อมูลบุคลากร

ผศ.ดร.สายบัว เข็มเพ็ชร
Saibua Khempet
ตำแหน่ง : ประธานหลักสูตร
ชื่อ ผศ.ดร.สายบัว   เข็มเพ็ชร
ตำแหน่ง ประธานหลักสูตร
ประเภทบุคลากร พนักงานมหาวิทยาลัย
เบอร์โทรศัพท์
E-Mail saibua.abc@gmail.com
ปริญญาเอก

สาขาวิชาพืชไร่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่จบ 2545

ปริญญาโท

สาขาวิชาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่จบ 2548

ปริญญาตรี

สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่จบ 2546

ความเชี่ยวชาญ
  • 1. การออกแบบงานวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
  • 2. การพัฒนาแบบจำลอง (System modeling)
  • 3. ระบบการผลิตข้าว
โครงงานวิจัย

1. โครงการ”การวิจัยและพัฒนากลยุทธ์การลดความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศบนพื้นที่สูง” ภายใต้การสนับสนุนทุนวิจัยโดย สถาบันวิจัยและ พัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) 2556  (นักวิจัยร่วมครงการ : อยู่ในระหว่างดำเนินการ)

เอกสารประกอบการสอน/ตำรา
  • 1. Khempet, S., Jongkaewwattana, S. 2012. Comparison of Agronomic Characteristics and Total Phenolic Content of Native Purple Glutinous Rice. Chiang Mai University Journal of Natural Sciences. Special Issue on Agricultural and Natural Resources. Vol.11 (1) 359-369.
  • 2. สายบัว  เข็มเพ็ชร และศักดิ์ดา จงแก้ววัฒนา 2552.  ลักษณะทางพืชไร่ของข้าวเหนียวก่ำ พื้นเมืองที่สัมพันธ์กับผลผลิตและสารฟีนอลิคทั้งหมดในเมล็ด. วารสารเกษตร ปีที่ 25 ฉบับพิเศษ พฤศจิกายน 2552 หน้า 81–91.
  • 3. สายบัว  เข็มเพ็ชร และศักดิ์ดา จงแก้ววัฒนา 2556.  แบบจำลองการเจริญเติบโต ของข้าวเหนียวก่ำ. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม ฉบับงานประชุมวิชาการระบบ เกษตรแห่งชาติ ครั้งที่ 8 หน้า 222-229  
บทความทางวิชาการ
งานประชุมวิชาการ
  • 1. ประชุมเรื่อง “วิธีการและมาตรฐานการทำวิจัยข้าวระดับท้องถิ่น” เพื่อกำหนดหลักการและ กฏเกณฑ์ของงานวิจัยของงานวิจัยระดับท้องถิ่น 18 มิถุนายน 2556 ณ ห้องประชุม 306 ชั้น 3 อาคารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพฯ
  • 2. ประชุมเพื่อพัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัยและบริการวิชาการด้านข้าว จัดโดยศูนย์วิจัยข้าวล้านนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันที่ 7 สิงหาคม 2556 ณ ห้องประชุมสุขุม อัศเวศน์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รางวัลที่ได้รับ
  • 1. ผลงานวิจัยดีเด่นด้านชุมชนและพื้นที่ เรื่อง “การพัฒนาฐานข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดิน สำหรับการจัดทำแผนชุมชน เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ จังหวัดน่าน” จากสำนักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ประจำปี 2559 ซึ่งมีกำหนดเข้ารับโล่เกียรติยศผลงานวิจัย ดีเด่นประจำปี 2559
  • งานวิจัยดีเด่นด้านชุมชนและพื้นที่ เรื่อง “การพัฒนาฐานข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดินสำหรับการจัดทำแผนชุมชน เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ จังหวัดน่าน” จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ประจำปี 2559